Master of Science Program in Smart Logistics and Supply Chain Management

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโลจิสติกส์อัจฉริยะและการจัดการโซ่อุปทาน (LSCM) (ภาคปกติ)

หลักสูตรเรียนในเวลาราชการ
กรุงเทพมหานคร

เรียนรู้จริง ประยุกต์ใช้ได้จริง ตัวจริงด้าน Supply Chain Analytics ต้อง การจัดการโลจิสติกส์ นิด้า

การจัดการโลจิสติกส์ นิด้า เปลี่ยนชื่อหลักสูตรเป็น “โลจิสติกส์อัจฉริยะและการจัดการโซ่อุปทาน” Smart Logistics and Supply Chain Management (LSCM)

เพิ่มเติมความ Smart ครบ 3 ด้าน

  • Analytics ตั้งใจทย์เป็น เลือกใช้เทคนิคได้เหมาะสม แปรผลใช้ได้ถูกต้อง
  • Cutting-Edge Technology ก้าวทัน tech ในงานโลจิสติกส์ เลือกใช้เป็น เหมาะสมกับงานปฏิบัติการ พร้อมเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม
  • Management ความรู้เชืงเทคนิคอย่างเดียวไม่เพียงพอ ต้องฝึกฝน soft skills ด้วย บริหารคน บริหารงานโครงการ ประสบความสำเร็จในสายงานโลจิสติกส์แน่นอน
สมัครเรียน
หลักสูตรปริญญาโท
คณะสถิติประยุกต์
หลักสูตรเรียนในเวลาราชการ ภาษาไทย
หลักสูตรเรียนในเวลาราชการ
กรุงเทพมหานคร
คณะสถิติประยุกต์ นิด้า
37 หน่วยกิต
98,500 บาท
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร
กำลังเปิดรับสมัคร รุ่นที่LSCM 2
เปิดรับสมัคร กรณีประสบการณ์/ทุนส่งเสริมการศึกษา 20 พ.ค. - 9 ส.ค. 67 กรณีสอบข้อเขียน 17 เม.ย. - 21 มิ.ย. 67

ผู้อำนวยการหลักสูตร

NIDA3 368 1024x1024 1

ดร.อัครนันท์ พงศธรวิวัฒน์

ผู้อำนวยการหลักสูตรโลจิสติกส์อัจฉริยะและการจัดการโซ่อุปทาน (LSCM)

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

school Video Cover

ความพิเศษของหลักสูตร

เรามุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรสาย Supply China Analytics ที่มีองค์ความรู้ครบ 4 ด้านหลัก Inventory Optimization, Network & Distribution Management, Supply chain optimization and Warehouse automation & smart logistics พร้อมทั้งศึกษาดูงานต่างประเทศกับองค์กรด้านโลจิสติกส์ชั้นนำ

วิชาในหลักสูตร

สพ 4000 พื้นฐานสำหรับบัณฑิตศึกษา
ภส 4001 การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา
ภส 4002 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ
ภส 4011 การซ่อมเสริมการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา
ภส 4012 การซ่อมเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ
ลจอท 5001 การวิเคราะห์ข้อมูลและตัวแบบการตัดสินใจ
ลจอท 5002 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 5003 พื้นฐานทางการจัดการสาหรับบุคลากรในสายงานโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 5004 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับโซ่อุปทานดิจิทัล
ลจอท 6001 การหาค่าเหมาะที่สุดสาหรับสินค้าคงคลัง
ลจอท 6002 โลจิสติกส์อัจฉริยะและคลังสินค้าอัตโนมัติ
ลจอท 6003 การหาค่าเหมาะที่สุดสาหรับการขนส่งและเครือข่ายการกระจายสินค้า
ลจอท 6004 การหาค่าเหมาะที่สุดของโซ่อุปทาน
ลจอท 7101 การจัดการความสัมพันธ์ลูกค้า
ลจอท 7102 การบริหารความเสี่ยงในโซ่อุปทาน
ลจอท 7103 การบริหารโครงการ
ลจอท 7104 การวางแผนและการจัดตารางการผลิต
ลจอท 7105 การจัดการโลจิสติกส์นานาชาติ
ลจอท 7106 การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน
ลจอท 7201 การจาลองสาหรับปัญหาโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 7202 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่-เวลา
ลจอท 7203 การตั้งราคาและการหาค่าเหมาะที่สุดสาหรับรายได้
ลจอท 7204 การพยากรณ์เชิงธุรกิจ
ลจอท 7205 การวิเคราะห์และตัดสินใจแบบหลายเงื่อนไข
ลจอท 7301 การวิเคราะห์ธุรกิจและวิทยาการข้อมูลเบื้องต้น
ลจอท 7302 การจัดการข้อมูลใหญ่
ลจอท 7303 การเรียนรู้ด้วยเครื่องจักรประยุกต์
ลจอท 7304 การทาเหมืองข้อมูลใหญ่
ลจอท 7401 การเจรจาต่อรองและการบริหารจัดการความขัดแย้ง
ลจอท 7402 การวิจัยเชิงคุณภาพ
ลจอท 7501 เทคนิคการวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูลในการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 7502 บัญชีต้นทุนกิจกรรมในการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 8001 สัมมนานานาชาติทางการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 8002 การศึกษาตามแนวแนะ
ลจอท 8003 การศึกษาตามแนวแนะ
ลจอท 8801-8803 การศึกษาเฉพาะเรื่องทางการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ลจอท 8804-8806 การศึกษาเฉพาะเรื่องทางการจัดการโลจิสติกส์
ลจอท 8807-8809 การศึกษาเฉพาะเรื่องทางการจัดการโลจิสติกส์
ลจอท 9000 การค้นคว้าอิสระ
ลจอท 9004 วิทยานิพนธ์

สมัครเรียนหลักสูตร

ค่าลงทะเบียน

ค่าหน่วยกิต หน่วยกิตละ1,500
ค่าบำรุงสถาบันภาคการศึกษา ภาคละ4,000
ค่าบำรุงสถาบันภาคฤดูร้อน ภาคละ2,000
ค่ากิจกรรมพิเศษเทอมละ 1,000 x 4 ภาค4,000
ค่าห้องปฏิบัติการของคณะภาคพิเศษภาคละ200
ค่าบริการเทคโนโลยีภาคการศึกษาละ700
ค่าใช้บริการทรัพยากรสารสนเทศ (ห้องสมุด)ภาคการศึกษาละ 600 บาท x 4 ภาค2,400
ค่าสมัครสอบประมวลความรู้และค่ารักษาสถานภาพ2,500
ค่าธรรมเนียมปริญญาบัตร1,000
ประมาณค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร98,500

คุณสมบัติผู้สมัคร

  1. เป็นผู้ที่ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า โดยสำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) หรือองค์กรที่มีมาตรฐานให้การรับรอง หรือมีวิทยฐานะที่สภาสถาบันอนุมัติให้เข้าเป็นนักศึกษา
  2. กรณีปกติ ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสถาบัน โดยการสอบข้องเขียนวิชาเฉพาะ 2 คะแนนขั้นต่ำ 500 และวิชาภาษาอังกฤษ NIDA-TEAP คะแนนขั้นต่ำ 400 รวมกันไม่ต่ำกว่า 950 ถึงจะมีสิทธิ์ยื่นสอบสัมภาษณ์
  3. กรณีประสบการณ์ มีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 1 ปี ถึงจะมีสิทธิสอบสัมภาษณ์
  4. กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา
    4.1 ทุน 1 มีเกรดเฉลี่ย ระดับปริญญาตรีอย่างน้อย 3.00 ถึงจะมีสิทธิสอบสัมภาษณ์
    4.2 ทุน 2 มีเกรดเฉลี่ย ระดับปริญญาตรีอย่างน้อย 2.75 ถึงจะมีสิทธิสอบสัมภาษณ์
    4.3 ทุน 3 มีเกรดเฉลี่ย ระดับปริญญาตรีอย่างน้อย 2.50 ถึงจะมีสิทธิสอบสัมภาษณ์

สมัครเรียน

เปิดรับสมัคร กรณีประสบการณ์/ทุนส่งเสริมการศึกษา 20 พ.ค. - 9 ส.ค. 67 กรณีสอบข้อเขียน 17 เม.ย. - 21 มิ.ย. 67
สมัครออนไลน์โดยคลิกที่ปุ่มสมัครเรียน

สมัครเรียน

ติดต่อข้อมูลหลักสูตร

082-7901940 @nidaadmission