ติดตาม :
เลือกภาษา
TH
:
EN
หน้าหลัก
สมัครเรียน
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะรัฐประศาสนศาสตร์
คณะบริหารธุรกิจ
คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ
คณะสถิติประยุกต์
คณะภาษาและการสื่อสาร
คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
คณะนิติศาสตร์
คณะพัฒนาสังคมและยุุทธศาสตร์การบริหาร
คณะการจัดการการท่องเที่ยว
คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
วิทยาลัยนานาชาติ
ประมาณการค่าใช้จ่าย
ทุนการศึกษา
รับสมัครออนไลน์
จากใจศิษย์เก่า
ปฏิทินการศึกษา
NIDA Experience
เกี่ยวกับนิด้า
ประวัติ สพบ.
ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนาจหน้าที่
โครงสร้างสถาบัน
คณะผู้บริหาร
อธิการบดี
รองอธิการบดี
ผู้ช่วยอธิการบดี
คณบดี
รศ.ดร.อมรรัตน์ อภินันท์มหกุล
ผศ.ดร.สุเทพ ทองงาม
รศ.ดร.สมบัติ กุสุมาวลี
ศ.ดร.วิสาขา ภู่จินดา
ผศ.ดร.อารี มโนสุทธิกิจ
รศ.ดร.อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว
รศ.ดร.กนกพร นาคทับที
รศ.ดร.จันทรานุช มหากาญจนะ
รศ.ดร.อมรรัตน์ กุลสุจริต
รศ.ดร.พลอย สืบวิเศษ
รศ.ดร.ธัชวรรณ กนิษฐ์พงศ์
ผศ.ดร.ปราโมทย์ ลือนาม
ศ.ดร.สรศาสตร์ สุขเจริญสิน
ผศ.ดร.จเร สิงหโกวินท์
รศ.ดร.กษมา สุวรรณรักษ์
ศ.ดร. จิรประภา อัครบวร
รศ.นเรศร์ เกษะประกร
ผศ.ดร.ไพฑูรย์ มนต์พานทอง
รศ.ดร.กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ
ภัคพงศ์ พจนารถ
ผศ.ดร.สิทธิ์ สุนทรายุทธ
อาจารย์ใจชนก ภาคอัต
รศ.ดร.สรศาสตร์ สุขเจริญสิน
รศ.ดร.ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช
ผศ.ดร.วริยา ล้ำเลิศ
กรรมการสภาสถาบัน
ประวัติบุคคลสำคัญ
ผลการประเมินคุณภาพของสถาบัน
International Relations
แผนผังเว็บไซต์
ข่าวประชาสัมพันธ์
เอกสารเผยแพร่
มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
ITA / ข้อมูลสาธารณะ
ปี 2565
ปี 2566
แลกลิงค์
จดหมายข่าว
NIDA for All >>ก้าวต่อไปของนิด้า
ค้นหา
รวมประกาศ covid-19
โครงการ U2T
ติดต่อเรา
สอบถาม / เสนอแนะ
รับเรื่องร้องเรียน
ร้องเรียนทุจริตและประพฤติมิชอบ
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
คณะ
คณะรัฐประศาสนศาสตร์
คณะบริหารธุรกิจ
คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ
คณะสถิติประยุกต์
คณะพัฒนาสังคมและยุุทธศาสตร์การบริหาร
คณะภาษาและการสื่อสาร
คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
คณะนิติศาสตร์
คณะการจัดการการท่องเที่ยว
คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
วิทยาลัยนานาชาติ
หน่วยงาน
หน่วยงานอื่นๆ
สภาพนักงาน
สำนักวิจัย
สำนักสิริพัฒนา (สำนักฝึกอบรม)
สำนักบรรณสารการพัฒนา
สำนักเทคโนโลยีดิจิทัลและสารสนเทศ
ศูนย์บริการวิชาการ
ศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์สำรวจความคิดเห็น "นิด้าโพล" (NIDA Poll)
สหกรณ์ออมทรัพย์ สพบ.
POLL
วิจัย
สำนักวิจัย
ศูนย์วิจัย 12 ศูนย์
ศูนย์บริการวิชาการ
Knowledge Management
NIDA in News
NIDA Digest
ห้องสมุด
หอสมุดสุขุม นวพันธ์
ห้องสมุดอาเซียน ถนัด คอมันตร์
พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ
Campus
สิ่งอำนวยความสะดวก
เยี่ยมชมนิด้า
กิจกรรมและสโมสรนักศึกษา
นักศึกษา
E - Service
บริการการศึกษา
บริการเทคโนโลยี
ห้องสมุด
กิจกรรมนักศึกษา
บุคลากร
E - Service
กองบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
สหกรณ์ออมทรัพย์
NIDA Calendar
NIDA 6 BCP
ศิษย์เก่า
ปริญญากิตติมศักดิ์
จดหมายข่าวนิด้าสัมพันธ์
สมาคมนักศึกษาเก่า สพบ.ในพระบรมราชูปถัมภ์
100 เกียรติคุณ
นักศึกษาเก่าดีเด่น
นักศึกษาเก่าแยกรายปี
นักศึกษาเก่าแยกรายคณะ
กองทุนนิด้าพัฒนา
ความเป็นมา
ช่องทางการบริจาค
รายชื่อผู้บริจาค
การลดหย่อนภาษี 2 เท่า
โครงการพระบรมรูปและเหรียญที่ระลึกฯ
งานระดมทุนอื่นๆ
แจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูลศิษย์เก่า
จากใจนักศึกษาและศิษย์เก่า
แบบสอบถามการได้รับรางวัล
ภาพข่าว
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2565
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2564
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2563
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2562
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2561
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2560
ภาพข่าวกิจกรรม ปี 2559
NIDA POLL
ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน เรื่อง “การเมือง เศรษฐกิจ และโควิด 19 ในปี 2566” ทำการสำรวจระหว่าง วันที่ 3-6 มกราคม 2566 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษาและอาชีพทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,310 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และโควิด 19 ในปี 2566 การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบง่าย (Simple Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0
จากการสำรวจเมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อสถานการณ์ทางการเมืองไทยโดยทั่วไปในปี 2566 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2565 พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 45.27 ระบุว่า สถานการณ์ทางการเมือง จะวุ่นวายเหมือนเดิม รองลงมา ร้อยละ 36.11 ระบุว่า สถานการณ์ทางการเมืองจะวุ่นวายมากขึ้น ร้อยละ 10.07 ระบุว่า สถานการณ์ทางการเมือง จะวุ่นวายน้อยลง ร้อยละ 7.86 ระบุว่า สถานการณ์ทางการเมือง จะไม่วุ่นวายเลย และร้อยละ 0.69 ระบุว่า เฉย ๆ/ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
ด้านความคิดเห็นของประชาชนต่อการเลือกตั้ง ส.ส. ที่จะเกิดขึ้นในปี 2566 พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 62.60 ระบุว่า มีแนวโน้ม ว่าจะมีการซื้อเสียงเลือกตั้ง รองลงมา ร้อยละ 36.56 ระบุว่า มีแนวโน้มว่าจะมีการใช้อิทธิพล และ/หรือ อำนาจรัฐในการหาเสียง ร้อยละ 33.74 ระบุว่า จะมีการโกงการเลือกตั้ง แต่ไม่สามารถเอาผิดผู้บงการได้ ร้อยละ 29.39 ระบุว่า จะมีการใช้เงินในการหาเสียงมากกว่าที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กำหนด และจะมีแค่การทำผิดกฎหมายการเลือกตั้งในเรื่องเล็ก ๆ ในสัดส่วนที่เท่ากัน ร้อยละ 20.23 ระบุว่า จะไม่มีการซื้อเสียงเลือกตั้ง ร้อยละ 16.95 ระบุว่า จะไม่มีการใช้อิทธิพล และ/หรือ อำนาจรัฐในการหาเสียง ร้อยละ 12.82 ระบุว่า จะมีการใช้เงิน ในการหาเสียงตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กำหนด ร้อยละ 11.30 ระบุว่า จะไม่มีการทำผิดกฎหมายการเลือกตั้ง ร้อยละ 4.05 ระบุว่า จะมีการโกงการเลือกตั้ง และสามารถเอาผิดผู้บงการได้ และร้อยละ 0.53 ระบุว่า เฉย ๆ/ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
สำหรับความคิดเห็นของประชาชนต่อสถานการณ์ทางเศรษฐกิจไทยในปี 2566 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2565 พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 37.25 ระบุว่า สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ จะดีขึ้น รองลงมา ร้อยละ 34.51 ระบุว่า สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ จะเหมือนเดิม ร้อยละ 28.09 ระบุว่า สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ จะแย่ลง และร้อยละ 0.15 ระบุว่า เฉย ๆ/ไม่ตอบ/ไม่สนใจ
ท้ายที่สุดเมื่อถามถึงความคิดเห็นของประชาชนต่อการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ในประเทศไทย ปี 2566 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2565 พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 35.57 ระบุว่า การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จะไม่น่ากลัวอีกต่อไป รองลงมา ร้อยละ 32.06 ระบุว่าการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จะลดน้อยลง ร้อยละ 19.70 ระบุว่า การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จะเหมือนเดิม และร้อยละ 12.67 ระบุว่าการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 จะรุนแรงขึ้น
เมื่อพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า ตัวอย่าง ร้อยละ 8.55 มีภูมิลำเนาอยู่กรุงเทพฯ ร้อยละ 18.55 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคกลาง ร้อยละ 18.01 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคเหนือ ร้อยละ 33.44 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 13.74 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคใต้ และร้อยละ 7.71 มีภูมิลำเนาอยู่ภาคตะวันออก ตัวอย่าง ร้อยละ 48.09 เป็นเพศชาย และร้อยละ 51.91 เป็นเพศหญิง
ตัวอย่าง ร้อยละ 12.90 มีอายุ 18-25 ปี ร้อยละ 17.79 มีอายุ 26-35 ปี ร้อยละ 18.93 มีอายุ 36-45 ปี ร้อยละ 26.64 มีอายุ 46-59 ปี และร้อยละ 23.74 มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ตัวอย่าง ร้อยละ 95.73 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 3.05 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 1.22 นับถือศาสนาคริสต์ และอื่น ๆ
ตัวอย่าง ร้อยละ 32.14 สถานภาพโสด ร้อยละ 65.88 สมรส และร้อยละ 1.98 หม้าย หย่าร้าง แยกกันอยู่ ตัวอย่าง ร้อยละ 25.72 จบการศึกษาประถมศึกษาหรือต่ำกว่า ร้อยละ 35.04 จบการศึกษามัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 7.86 จบการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 28.17 จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และร้อยละ 3.21 จบการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 8.55 ประกอบอาชีพข้าราชการ/ลูกจ้าง/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 15.80 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน ร้อยละ 22.52ประกอบอาชีพเจ้าของธุรกิจ/อาชีพอิสระ ร้อยละ 12.37 ประกอบอาชีพเกษตรกร/ประมง ร้อยละ 16.03 ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป/ผู้ใช้แรงงาน ร้อยละ 19.69 เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ/ว่างงาน และร้อยละ 5.04 เป็นนักเรียน/นักศึกษา
ตัวอย่าง ร้อยละ 21.37 ไม่มีรายได้ ร้อยละ 21.91 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 10,000 บาท ร้อยละ 28.93 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท ร้อยละ 11.53 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-30,000 บาท ร้อยละ 4.35 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001-40,000 บาท ร้อยละ 4.51 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 40,001 บาทขึ้นไป และร้อยละ 7.40 ไม่ระบุรายได้
เข้าสู่เว็บนิด้าโพล